วิเคราะห์การแนะนำคู่เดทของแอพ Tinder
หลังจากที่ เผยเบื้องหลัง เทคนิคการแนะนำคู่เดทของแอพ OkCupid กันไปแล้ว คราวนี้เป็นคิวของเจ้า Tinder แอพแนะนำคู่เดทอีกหนึ่งตัวที่คนไทยนิยมเล่น โดยบทความนี้เป็นการวิเคราะห์ในมุมมองส่วนตัวของผมเอง จากการสังเกตการณ์ว่าแอพมีวิธีการแนะนำคู่เดทให้กับเราอย่างไร ใครเห็นด้วยไม่เห็นด้วย หรือมีข้อมูลเพิ่มเติมก็มาแชร์กันได้นะครับ
แอพ Tinder จะแนะนำคู่เดทในรูปแบบ Card ผู้ใช้สามารถปัด (Swipe) ได้ การปัดซ้าย (Swipe Left) หมายถึงคุณไม่ชอบคู่เดทที่แอพแนะนำ ส่วนการปัดขวา (Swipe Right) หมายถึงคุณชอบคู่เดทที่แอพแนะนำ สำหรับการแนะนำคู่เดทของ Tinder...
เผยเบื้องหลัง เทคนิคการแนะนำคู่เดทของแอพ OkCupid
สตาร์ทอัพบริการหาคู่ในเมืองนอกเป็นที่นิยมมากครับ ในการช่วยหาคู่เดท หรือคู่ชีวิตให้กับผู้ใช้ และก็มีคนยอมจ่ายเงินให้บริการเหล่านี้เยอะเสียด้วยสิ ผมคิดว่าคงมีหลายคนเคยลองเล่นแอพหาคู่เดทบนมือถือ ที่ผมเห็นคนไทยเล่นเยอะก็จะมี OkCupid กับ Tinder แอพเหล่านี้จะแนะนำคนที่คุณอาจสนใจให้ เบื้องหลังการแนะนำผู้พัฒนาใช้วิธีอะไร อย่าง OkCupid รู้ได้อย่างไรว่าเรา Match กับคนนี้กี่ % บทความนี้เราจะพูดถึงเบื้องหลังที่ว่านี้กันครับ
มาทำความรู้จักระบบแนะนำข้อมูล (Introducing Recommender System)
ระบบแนะนำข้อมูล หรือ Recommender System เป็นสาขาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่งที่ผมเชี่ยวชาญ ทุกวันนี้เราทุกคนคุ้นเคยกับเจ้าระบบนี้ดีอยู่แล้ว ตั้งแต่เปิด Facebook มาคุณก็เจอแนะนำ Post อะไรต่อมิอะไรเยอะแยะ และคุณก็สนใจเข้าไปอ่านเสียด้วย...
10 สตาร์ทอัพที่โคตรประสบความสำเร็จในการทำ MVP ตอนที่ 2
มาถึงตอนที่ 2 ของ 10 สตาร์ทอัพที่โคตรประสบความสำเร็จในการทำ MVP ในตอนนี้ผมนำเสนอสตาร์ทอัพอีก 3 เจ้า จะเป็นใครบ้างไปอ่านกันได้เลยครับ
4.Buffer
Photo credit: Idea to Paying Customers in 7 Weeks- How We Did It
Buffer เป็นแอพที่ให้คุณสามารถตั้งเวลาในการโพสต์ข้อความบน social network...
10 สตาร์ทอัพที่โคตรประสบความสำเร็จในการทำ MVP ตอนที่ 1
ผมมีโอกาสได้อ่าน e-book ที่ชื่อ The guide to minimum viable products: A master collection of frameworks, expert opinions, and examples เขียนโดยทีมงาน UXPIN ซึ่งยกกรณีศึกษา 10 บริษัทสตาร์ทอัพที่ประสบความสำเร็จอย่างมากในการทำ MVP ช่วยให้เราเห็นภาพการเริ่มทำ Product...
MVP เรื่องที่คนทำสตาร์ทอัพควรรู้
ผมยอมรับว่าผมพลาดอย่างแรงที่ไม่ยอมศึกษา MVP ก่อนทำ Letzwap ด้วยมุมมองพนักงานประจำหรือ Freelance ทำให้เราติดกับดักที่ว่า "ทำไปก็มีคนใช้" แน่นอนว่าเราไม่มีความเสี่ยงเลยในเรื่องของการตลาด ลูกค้าเราเป็นคนจัดการเสร็จสรรพ เราเพียงทำงานเสร็จรับเงิน จบจากกัน หรืออาจดูแลบำรุงรักษาให้ไม่กี่เดือน
แต่ในมุมผู้ประกอบการมันมีความเสี่ยงกับคำถามที่ว่า "ทำไปแล้วมีคนใช้หรือเปล่า" เพราะมันมีการลงทุน เงิน แรง และเวลา การศึกษาผู้ใช้เราเรียนแค่ในตำรา รู้ว่ามันเป็นอย่างไร ควรทำนะ แต่ไม่ได้ลงมือจริง เราโฟกัสแต่เรื่อง Coding...